วันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Verbs

Verbs ( คำกริยา )

Types (ชนิดของคำกริยา)

คำกริยาเป็นการบอกอาการ หรือการกระทำ  ( action ) หรือความมีอยู่ 
เป็นอยู่  ( being ) หรือ สภาวะความเป็นอยู่ ( state of being )


การกระทำ
ความมีอยู่ ,เป็นอยู่
             สภาวะความเป็นอยู่
He eats.
He is a boy.
              He seemed tired.
He went home.                         
She has a beautiful house.
              This cake tastes good.







การจำแนกชนิดของคำกริยา  มีการแบ่งไว้หลายวิธีสุดแต่จะคำนึงอะไรเป็นหลัก
 เช่น
1. แบ่งตามหน้าที่โดยยึดเป็นกรรม  ( Object ) เป็นเกณฑ์มี 2 ชนิด
  • Transitive Verbs  ( สกรรมกริยา )  คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารับ  เช่น
    He bought a book. ( a book เป็นกรรม )
  • Intransitive Verbs( อกรรมกริยา ) คำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรม    เช่น 
    He arrived late.


2. แบ่งตามหน้าที่ เป็นคำกริยาหลัก (Main Verbs) และ
คำกริยาช่วย ( Auxiliary Verbs )
  • Main Verbs ( คำกริยาหลัก) เป็นคำกริยาที่ทำหน้าที่ได้อย่างอิสระในประโยค  เช่น
    He went to Australia last year.
  • Auxiliary Verbs ( คำกริยาช่วย ) ทำหน้าที่ช่วยคำกริยาหลัก  เช่นHe has gone to Australia.


3. แบ่งตามหน้าที่เป็นคำกริยาแท้ ( Finite Verbs) และ
กริยาไม่แท้ ( Non-finite Verbs)
  • Finite Verbs  ( คำกริยาแท้ ) ทำหน้าที่แสดงกริยาอาการที่แท้จริงของประธาน
ในประโยคมีการเปลี่ยนรูปไปตามSubject , Tense, Voice และ Mood เช่น 
Subject
I go to school every day
He goes to school every day
They go to school every day
Tense
He goes to school every day
He went to school  yesterday
He's going to school tomorrow




Voice
Someone killed the snake. ( Active )
The snake was killed . ( Passive )
Mood
I recommend that he see a doctor.
    (ไม่ใช่he sees )

If I were you ,I would not do it.
    ( ไม่ใช่ I was )

  • Non-finite Verb( คำกริยาไม่แท้ )หรือ Verbal  เป็นคำที่มีรูปจากคำกริยา
แต่ไม่ได้ทำหน้าที่คำกริยาแท้ มี รูปคือ
a. Infinitives  เป็นคำกริยาที่อยู่ในรูปกริยาช่องที่ 1 นำหน้าด้วย to ทำหน้าที่ noun ,
adjective  และ adverb
 He lacked the strength to resist.
     ( to resist ทำหน้าที่ adjective)
  We must study to learn.
     ( to learn ทำหน้าที่ adverb)

b. Gerunds    เป็นคำกริยาเติม ing  ทำหน้าที่เป็นคำนาม ( noun )
เช่น
They do not appreciate my singing.
   พวกเขาไม่ชอบการร้องเพลงของฉัน 

 ( singing  เป็นคำนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรม )
I like swimming.
  ฉันชอบว่ายน้ำ.  ( swimming  เป็นกรรมของ like )

c. Participles  คำกริยาที่เติม ing  หรือ กริยาช่องที่ 3   ที่ทำหน้าที่เป็นคำคุณศัพท์
( Adjective )  มี 2 รูปแบบคือ
* Present Participles  เป็นคำกริยาที่เติม ing  เช่น
  The crying baby had a wet diaper.
     เด็กที่ร้องอยู่นั้นผ้าอ้อมเปียก  ( crying เป็นคำคุณศัพท์ขยาย baby )

* Past Participles  เป็นคำกริยาช่องที่เช่น  The broken bottle is on the floor.


4. แบ่งตามโครงสร้างโดยยึดการเปลี่ยนรูปของคำ  ( conjugation ) ได้แก่
  • Regular Verbs( คำกริยาปกติ )  เป็นคำกริยาที่เติม ed เมื่อเป็น past
และ past participle เช่น

walk>>
walked>>
walked
stop>>
stopped>>
stopped
work>>
worked>>
worked

  • Irregular Verbs( คำกริยาอปกติ ) เป็นคำกริยาที่มีรูป past และ past participle
ต่างไปจากรูปเดิมหรือคงรูปเดิม เช่น

send>>
sent>>
sent
go>>
 
went>>
gone
see>>
saw>>



seen



ช่วยคอมเม้นให้ด้วยนร้าค่ะ  ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ ^__^